ภควัท-คีตา ฉบับเดิม
บทที่ หนึ่ง
สำรวจกองทัพที่สมรภูมิ กุรุกฺเษตฺร
โศลก 16-18
anantavijayaṁ rājā
kuntī-putro yudhiṣṭhiraḥ
nakulaḥ sahadevaś ca
sughoṣa-maṇipuṣpakau
kuntī-putro yudhiṣṭhiraḥ
nakulaḥ sahadevaś ca
sughoṣa-maṇipuṣpakau
อนนฺตวิชยํ ราชา
กุนฺตี-ปุโตฺร ยุธิษฺฐิรห์
นกุลห์ สหเทวศฺ จ
สุโฆษ-มณิปุษฺปเกา
กุนฺตี-ปุโตฺร ยุธิษฺฐิรห์
นกุลห์ สหเทวศฺ จ
สุโฆษ-มณิปุษฺปเกา
kāśyaś ca parameṣv-āsaḥ
śikhaṇḍī ca mahā-rathaḥ
dhṛṣṭadyumno virāṭaś ca
sātyakiś cāparājitaḥ
śikhaṇḍī ca mahā-rathaḥ
dhṛṣṭadyumno virāṭaś ca
sātyakiś cāparājitaḥ
กาศฺยศฺ จ ปรเมษฺวฺ-อาสห์
ศิขณฺฑี จ มหา-รถห์
ธฺฤษฺฏทฺยุมฺโน วิราฏศฺ จ
สาตฺยกิศฺ จาปราชิตห์
ศิขณฺฑี จ มหา-รถห์
ธฺฤษฺฏทฺยุมฺโน วิราฏศฺ จ
สาตฺยกิศฺ จาปราชิตห์
drupado draupadeyāś ca
sarvaśaḥ pṛthivī-pate
saubhadraś ca mahā-bāhuḥ
śaṅkhān dadhmuḥ pṛthak pṛthak
sarvaśaḥ pṛthivī-pate
saubhadraś ca mahā-bāhuḥ
śaṅkhān dadhmuḥ pṛthak pṛthak
ทฺรุปโท เทฺราปเทยาศฺ จ
สรฺวศห์ ปฺฤถิวี-ปเต
เสาภทฺรศฺ จ มหา-พาหุห์
ศงฺขานฺ ทธฺมุห์ ปฺฤถกฺ ปฺฤถกฺ
สรฺวศห์ ปฺฤถิวี-ปเต
เสาภทฺรศฺ จ มหา-พาหุห์
ศงฺขานฺ ทธฺมุห์ ปฺฤถกฺ ปฺฤถกฺ
อนนฺต-วิชยมฺ — หอยสังข์ชื่อ อนนฺต-วิชย, ราชา — กษัตริย์, กุนฺตี-ปุตฺรห์ — บุตรของพระนาง กุนฺตี, ยุธิษฺฐิรห์ — ยุธิษฺฐิร, นกุลห์ — นกุล, สหเทวห์ — สหเทว, จ — และ, สุโฆษ-มณิปุษฺปเกา — หอยสังข์ชื่อ สุโฆษ และ มณิปุษฺปก, กาศฺยห์ — กษัตริย์แห่ง กาศี (วาราณะสี), จ — และ, ปรม-อิษุ-อาสห์ — ยอดนักยิงธนู, ศิขณฺฑี — ศิขณฺฑี, จ — ด้วยเหมือนกัน, มหา-รถห์ — ผู้ซึ่งสามารถต่อสู้กับคนเป็นพันๆโดยลำพัง, ธฺฤษฺฏทฺยุมฺนห์ — ธฺฤษฺฏทฺยุมฺน (โอรสของกษัตริย์ทฺรุปท), วิราฏห์ — วิราฏ (เจ้าชายผู้ทรงให้ที่พักพิงแด่ ปาณฺฑว ขณะที่แปลงตัวหลบซ่อน), จ — ด้วยเหมือนกัน, สาตฺยกิห์ — สาตฺยกิ (เหมือนกับ ยุยุธาน สารถีของศฺรีกฺฤษฺณ), จ — และ, อปราชิตห์ — ผู้ไม่เคยถูกทำลาย, ทฺรุปทห์ — ทฺรุปท กษัตริย์แห่งพานชาละ, เทฺราปเทยาห์ — บุตรของ เทฺราปที, จ — ด้วยเหมือนกัน, สรฺวศห์ — ทั้งหมด, ปฺฤถิวี-ปเต — โอ้ กษัตริย์, เสาภทฺรห์ — อภิมนฺยุบุตรของ สุภทฺรา, จ — เช่นกัน, มหา-พาหุห์ — ยอดนักรบ, ศงฺขานฺ — หอยสังข์, ทธฺมุห์ — เป่า, ปฺฤถกฺ ปฺฤถกฺ — ต่างคนต่างเป่า
คำแปล
กษัตริย์
คำอธิบาย
สญฺชย บอกแก่กษัตริย์ ธฺฤตราษฺฏฺร อย่างมีไหวพริบเกี่ยวกับนโยบายอันไม่ฉลาดที่ไปโกงพวกโอรส ปาณฺฑุ และพยายามที่จะสถาปนาโอรสของตนขึ้นครองราชสมบัติว่าเป็นสิ่งที่ไม่น่าสรรเสริญ มีลางต่างๆแสดงให้ได้เห็นอย่างชัดเจนว่าราชวงค์ กุรุ ทั้งหมดจะถูกสังหารในสมรภูมิอันยิ่งใหญ่นี้ โดยเริ่มต้นจากพระอัยกา ภีษฺม ลงไปถึงพระราชนัดดา เช่น อภิมนฺยุ และองค์อื่นๆ รวมทั้งกษัตริย์จากรัฐต่างๆทั่วโลกที่มาชุมนุมกันที่นี้จะถูกลงโทษทั้งหมด ความหายนะทั้งปวงนี้ก็เนื่องมาจากกษัตริย์ ธฺฤตราษฺฏฺร เพราะทรงสนับสนุนนโยบายที่ฉ้อโกงทำให้เหล่าโอรสของพระองค์ทรงปฏิบัติตาม