ภควัท-คีตา ฉบับเดิม
บทที่ สิบ
ความมั่งคั่งแห่งสัจธรรม
โศลก 24
purodhasāṁ ca mukhyaṁ māṁ
viddhi pārtha bṛhaspatim
senānīnām ahaṁ skandaḥ
sarasām asmi sāgaraḥ
viddhi pārtha bṛhaspatim
senānīnām ahaṁ skandaḥ
sarasām asmi sāgaraḥ
ปุโรธสำ จ มุขฺยํ มำ
วิทฺธิ ปารฺถ พฺฤหสฺปติมฺ
เสนานีนามฺ อหํ สฺกนฺทห์
สรสามฺ อสฺมิ สาครห์
วิทฺธิ ปารฺถ พฺฤหสฺปติมฺ
เสนานีนามฺ อหํ สฺกนฺทห์
สรสามฺ อสฺมิ สาครห์
ปุโรธสามฺ — ของพระทั้งหมด, จ — เช่นกัน, มุขฺยมฺ — หัวหน้า, มามฺ — ข้า, วิทฺธิ — เข้าใจ, ปารฺถ — โอ้ โอรสพระนาง ปฺฤถา, พฺฤหสฺปติมฺ — พฺฤหสฺปติ, เสนานีนามฺ — ของขุนพลทั้งหลาย, อหมฺ — ข้าเป็น, สฺกนฺทห์ — การฺตฺติเกย, สรสามฺ — ของแหล่งกำเนิดของน้ำทั้งหลาย, อสฺมิ — ข้าเป็น, สาครห์ — มหาสมุทร
คำแปล
ในบรรดาพระ
คำอธิบาย
พระอิทร์หรือ อินฺทฺร ทรงเป็นเทวดาแห่งสรวงสวรรค์จึงได้ชื่อว่าเป็นเจ้าแห่งสวรรค์ ดาวเคราะห์ที่พระองค์ทรงเป็นใหญ่เรียกว่า อินฺทฺรโลก พฺฤหสฺปติ เป็นพระของพระอินทร์ เนื่องจากพระอินทร์ทรงเป็นผู้นำของ กฺษตฺริย พฺฤหสฺปติ จึงเป็นประธานของคณะพระทั้งหมด ขณะที่พระอิทร์ทรงเป็นผู้นำของ กฺษตฺริย ทั้งหมด ในทำนองเดียวกัน สฺกนฺท หรือ การฺตฺติเกย โอรสของพระนาง ปารฺวตี และพระศิวะก็เป็นหัวหน้าของขุนพลในกองทัพทั้งหมด และในบรรดาแผ่นน้ำนั้นมหาสมุทรยิ่งใหญ่ที่สุดจึงเป็นผู้แทนขององค์กฺฤษฺณเหล่านี้เพียงแต่เปรียบเปรยเพื่อให้พอได้เห็นความยิ่งใหญ่ของพระองค์เท่านั้น